RIT
CHULALONGKORN UNIVERSITY
RIT CU
ศูนย์จริยธรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ศาสตราจารย์ ดร. โสรัจจ์ หงศ์ลดารมภ์
ผู้อำนวยการ ศูนย์จริยธรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และนวัตกรรม
หน่วยงานสนับสนุนการวิจัย
โครงการการวิจัยเพื่อพัฒนาจริยธรรมการวิจัยและระบบการประเมิน ตอบสนองความท้าทายในการพัฒนาระบบการวิจัยของประเทศ
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

การทำวิจัยอย่างมีความรับผิดชอบ
แปลจาก On Being Scientist On Being a Scientist: A Guide to Responsible Conduct in Research: Third Edition หน้า 1-56 การทำวิจัยอย่างมีความรับผิดชอบ ความหลงใหลในความงดงามของวิทยาศาสตร์ ได้นำ Inez Fung กลับมาที่ the Massachusetts Institute of Technology ที่ที่เธอได้รับปริญญาเอกในสาขาอุตุนิยมวิทยา เธอกล่าวว่า...
วิเคราะห์ประเด็นทางจริยธรรมเชิงลึก
ประเด็นทางจริยธรรมที่ปรากฏในเรื่องการทำผิดในการวิจัย หรือที่เรียกอีกอย่างว่า “บูรณภาพในการวิจัย” (research integrity) หรือ “การดำเนินการวิจัยอย่างมีความรับผิดชอบ” (responsible conduct of research) มีอยู่ด้วยกันหลายประการ ในหัวข้อนี้จะได้วิเคราะห์ประเด็นเหล่านี้ในเชิงวิชาการ...
หน้าที่ทางจริยธรรมในการวิจัย
แปลจาก Avoiding Being Penalized: Research Misconduct ไม่เพียงแต่การมีจริยธรรมในการวิจัยจะช่วยเติมเต็มประเด็นด้านศีลธรรมแล้ว แต่ยังนำไปสู่ผลการวิจัยที่ดีขึ้นเนื่องจากจะทำให้ผู้วิจัยให้ความสำคัญต่อรายละเอียดในการวิจัยมากขึ้น รวมไปถึงการให้ความสำคัญกับเทคนิควิธีทางสถิติและเทคนิคการวิจัยเชิงปริมาณ...
Safeguarding research integrity in China (ทบทวนวรรณกรรม)
Safeguarding research integrity in China (ทบทวนวรรณกรรม) Jane Qiu (2015) ศึกษาเกี่ยวกับการปกป้องจริยธรรมการวิจัยในจีน โดยนำเสนอการอภิปรายถกเถียงระหว่างบุคคลจากภาคส่วนต่างๆ เกี่ยวกับ ของการขาดจริยธรรมในการวิจัยและแนวทางการแก้ปัญหาในจีน ผลการศึกษาเบื้องต้นเกี่ยวกับการให้ความสำคัญกับปัญหาด้านการทำผิดในการวิจัย...
Academic Research in the 21st Century
Academic Research in the 21st Century: Maintaining Scientific Integrity in a Climate of Perverse Incentives and Hypercompetition Marc A. Edwards and Siddhartha Roy (2016) ศึกษาปัญหาในการสร้างแรงจูงใจที่ผิดในวงการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ที่นำไปสู่พฤติกรรมการทำผิดในการวิจัย...
การส่งงานซ้ำกันสองที่ (Dual Submission)
กรณีศึกษา: การส่งงานซ้ำกันสองที่ (Dual Submission) ผู้ประพันธ์งานวิจัยส่งมอบงานมายังวารสาร (วารสาร A) ซึ่งหลังจากผ่านกระบวนการ peer review 2 รอบ ก็ได้รับการตอบรับและตีพิมพ์ สัปดาห์ต่อมาหลังจากตีพิมพ์แล้ว บรรณาธิการของวารสาร B ได้ติดต่อมายังวารสารของพวกเรา และกล่าวว่าบทความดังกล่าวมีชื่อเรื่อง ผู้แต่ง และเนื้อหา...
การทำวิจัยอย่างมีความรับผิดชอบ
แปลจาก On Being Scientist On Being a Scientist: A Guide to Responsible Conduct in Research: Third Edition หน้า 1-56 การทำวิจัยอย่างมีความรับผิดชอบ ความหลงใหลในความงดงามของวิทยาศาสตร์ ได้นำ Inez Fung กลับมาที่ the Massachusetts Institute of Technology ที่ที่เธอได้รับปริญญาเอกในสาขาอุตุนิยมวิทยา เธอกล่าวว่า...
กรณีศึกษา กิตติศักดิ์
ประสิทธิ์ ปิวาวัฒนพานิช ผมชั่งใจอยู่นานว่าจะเขียนเรื่องนี้ดีหรือไม่เพราะเหตุการณ์ผ่านมานานหลายปีแล้ว และหลังจากเกิดเหตุการณ์นี้ผมก็ไม่เคย take action ต่อเลยเพราะถือว่าผมทำหน้าที่ของผมเรียบร้อยแล้ว แต่เมื่อไม่กี่วันมานี้เกิดประเด็นสงสัยเกี่ยวกับงานเขียนของ อ. กิตติศักดิ์ ปรกติชิ้นหนึ่งใน social media...
Integrity and Ethices of Research and Publication
By Prof. ARAN INCHAROENSAKDI
Ethics – definition
“The branch of philosophy dealing with the rules of right conduct”.
Integrity – definition
“Active adherence to the ethical principles and professional standards essential for the responsible practice of research”.
Researchers should present their results honestly and without fabrication, falsification or inappropriate data manipulation. Research images (e.g. micrographs, X-rays, pictures of electrophoresis gels) should not be modified in a misleading way..
Researchers should strive to describe their methods and to present their findings clearly and unambiguously. Researchers should follow applicable reporting guidelines. Publications should provide sufficient detail to permit experiments to be repeated by other researchers.
Reports of research should be complete. They should not omit inconvenient, inconsistent or inexplicable findings or results that do not support the authors’ or sponsors’ hypothesis or interpretation.